SCIENCE

SCIENCE

SCHOOLLOGO.jpg


wcss-logo.png





โครงงาน
เรื่อง  เทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง



โดย  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3/1


ครูที่ปรึกษา
นางภัทรพร พรมน้อย


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนอำนาจเจริญ  อำเภอเมือง  จังหวัดอำนาจเจริญ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต 29
กระทรวงศึกษาธิการ




































รายชื่อคณะผู้จัดทำ

เด็กหญิง สุมาลัย  ทุมมาวัย         เลขที่ 25
เด็กหญิง สุทธิดา  สังกะเพศ เลขที่ 31
เด็กหญิง สุกัญญา บุดดวงศ์           เลขที่ 43
เด็กหญิง ชาลิสา   บุดดาวงค์       เลขที่ 44
เด็กหญิง ทรงอัปสร หมั่นเรียน       เลขที่ 50
เด็กหญิง สิมิลัน ภักดิ์วาปี           เลขที่ 53
เด็กหญิง นนลนีย์ พรมดวงศรี       เลขที่ 54






























คำนำ

        โครงงานอาชีพ  เรื่องเทียนหอมตะไคร้เป็นโครงงานที่จัดทำขึ้นเพื่อการศึกษาการไล่ยุงของเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง เป็นการนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เป็นการศึกษาความรู้เกี่ยวกับเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง และยังเป็นโครงงานที่สามารถนำมาใช้ได้ในชีวิตจริง
         หวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานที่นำเสนอคงจะเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่สนใจที่จะศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโครงงานเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงและยังเป็นประโชน์กับคนรุ่นหลัง
                                                                                                                               
คณะดำเนินงาน












                                                 













                               
สารบัญ

เรื่อง
หน้า

คำนำ

สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
บทที่ 1

          ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
                                                                                 1
          จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า

          สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า

          ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า

บทที่ เอกสารที่เกี่ยวข้อง
                                                                                                                                    2
          ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง

          ความรู้เกี่ยวกับ

บทที่ วิธีการดำเนินงาน
                                                                                 3
         วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงาน

         ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน

บทที่ ผลการดำเนินงาน
                                                                                 4
         ตารางแสดงผลการทดลอง

บทที่ สรุปการอภิปรายผลการดำเนินงาน
                                                                                 5
         สรุปผลการอภิปรายผลการดำเนินงาน

         ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

         ข้อเสนอแนะ

อ้างอิง                                                           
                                                              6                       
ภาคผนวก
                                                              7                   




กิตติกรรมประกาศ

โครงงานอาชีพ  เรื่อง เทียนหอมตะไคร้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีเพราะได้รับการช่วยเหลือจาก
นายจักรทิพย์  กีฬา  ผู้อำนวยการโรงเรียนอำนาจเจริญ
นางสาว ภัทรพร พรมน้อย ครูประจำวิชาที่ให้คำปรึกษา  แนะนำและช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ
ขอขอบคุณผู้ปกครอง  เจ้าของสถานประกอบการ  ครูโรงเรียนอำนาจเจริญและชุมชนที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ  และให้กำลังใจตลอดมา  คณะผู้จัดทำโครงงานอาชีพขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้


                                                                                คณะผู้จัดทำ



























โครงงาน เรื่อง เทียนหอมตะไคร้
คณะผู้จัดทำ  
2.เด็กหญิง สุมาลัย  ทุมมาวัย       เลขที่ 25
3.เด็กหญิง สุทธิดา  สังกะเพศ       เลขที่ 31
4.เด็กหญิง สุกัญญา บุดดวงศ์       เลขที่ 43
5.เด็กหญิง ชาลิสา   บุดดาวงค์     เลขที่ 44
6.เด็กหญิง ทรงอัปสร หมั่นเรียน     เลขที่ 50
8.เด็กหญิง สิมิลัน ภักดิ์วาปี เลขที่ 53
9.เด็กหญิง นนลนีย์ พรมดวงศรี     เลขที่ 54

  
       
ครูที่ปรึกษาโครงงาน   นางสาว ภัทรพร พรมน้อย
สถานศึกษา    โรงเรียนอำนาจเจริญ  อำเภอเมือง  จังหวัดอำนาจเจริญ





















บทคัดย่อ

        โครงงาน เรื่องเทียนหอมตะไคร้ เนื่องจาก ใบตะไคร้หอมมีกลิ่นหอม และมีคุณสมบัติ ซึ่งใช้ในการบำบัดโรค เช่น ช่วยลดไข้ ขับถ่ายพยาธิ กระตุ้นการย่อย อาหาร บรรเทาอาการปวดประจำเดือน น้ำมันตะไคร้หอมมีคุณสมบัติในการขับไล่ยุงและแมลง ในประเทศจีนใช้ ตะไคร้หอมในการบำบัดข้ออักเสบ และช่วยบรรเทาอาการหวัด ลดไข้ มีประโยชน์มากที่สุดในการใช้บรรเทาความ อ่อนเพลีย อาการปวดศีรษะ และไมเกรนน้ำมันตะไคร้หอมมีสรรพคุณในการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ เป็นที่นิยมแพร่หลายในการทำสบู่ ในอุตสาหกรรมอาหาร ใช้ทำน้ำตะไคร้ และทำเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผู้จัดทำโครงงานเห็นว่าประโยชน์ของเทียนหอมตะไคร้นั้นมีประโยชน์จึงได้จัดทำโครงงานนี้ขึ้น



























บทที่ 1

บทนำ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
         การทำเทียนหอมในปัจจุบันนิยมใช้กลิ่นของหัวน้ำหอมต่างๆ ซึ่งทำให้ผู้จัดทำโครงงานนี้เห็นความสำคัญของการใช้กลิ่นของพืชสมุนไพรแทนการใช้น้ำหอมต่างๆจึงเรียกว่าการทำเทียนสมุนไพร โดยได้ใช้สมุนไพรได้แก่ตะไคร้หอม ขมิ้น เพื่อให้เกิดเป็นเทียมหอมกลิ่นตะไคร้หอม เพราะสมุนไพรที่ได้นำมาทำนั้นกลิ่นมีประโยชน์มากมายเช่น ตะใคร้หอมสามารถไล่ยุงให้กลิ่นที่รู้สึกสดชื่นสร้างอารมณ์มีชีวิตชีวา

จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อใช้พืชพรรณในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์
2. เพื่อให้รู้คุณค่าของพืชพรรณในธรรมชาติ
3. เพื่อศึกษาขั้นตอนในการทำเทียนหอมสมุนไพร

สมมุติฐานในการศึกษาค้นคว้า
1. ตะไคร้สามารถไล่ยุงได้
2. เทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงไม่ทำให้ผู้ใช้เกิดอาการแพ้
3. เทียนหอมสมุนไพรที่ผลิตขึ้นได้น่าจะมีกลิ่นของสมุนไพรซึ่งได้แก่ตะไคร้หอมให้กลิ่นที่หอมสดชื่น
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
 ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม –  29 กุมภาพันธ์  .. 2555

ตัวแปร
ตัวแปรต้น        ใบตะไคร้ตากแห้ง
ตัวแปรตาม      ไล่ยุงได้
ตัวแปรควบคุม    ใบตะไคร้ตากแห้ง 10 กรัม
พาราฟินหลอมเหลว 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
S.A 1 ช้อนชา
P.E 1 ช้อนชา






บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาโครงงานอาชีพ เทียนหอมตะไคร้มีเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้  
ตะไคร้หอม                         ( Citronella)
ชื่อวิทยาศาสตร์                   
 Cymbopogon nardus
วงศ์
                                  Gramineae
               
 ใบตะไคร้หอมมีกลิ่นหอม และมีคุณสมบัติ ซึ่งใช้ในการบำบัดโรค เช่น ช่วยลดไข้ ขับถ่ายพยาธิ กระตุ้นการย่อย อาหาร บรรเทาอาการปวดประจำเดือน น้ำมันตะไคร้หอมมีคุณสมบัติในการขับไล่ยุงและแมลง ในประเทศจีนใช้ ตะไคร้หอมในการบำบัดข้ออักเสบ และช่วยบรรเทาอาการหวัด ลดไข้ มีประโยชน์มากที่สุดในการใช้บรรเทาความ อ่อนเพลีย อาการปวดศีรษะ และไมเกรน
น้ำมันตะไคร้หอมมีสรรพคุณในการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ เป็นที่นิยมแพร่หลายในการทำสบู่ ในอุตสาหกรรมอาหาร ใช้ทำน้ำตะไคร้ และทำเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ส่วนที่ใช้                              ใบ
กลิ่น
                                   สดชื่น
อารมณ์                               มีชีวิตชีวา
ส่วนประกอบทางเคมี
         ซิทราเนลลิค (Citronellic), บอร์นีล (Borneol), ซิลทราเนลโล (Citronellol), เจรานอล (Geraniol), เนอรอล (Nerol), ซีทรอล (Citral), ซิลทราเนลลา (Citronellal), แคมฟีน (Camphene), ไดเพนทีน (Dipentene), ไลโมนีน (Limonene)
คุณสมบัติ
 : ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ ช่วยระงับกลิ่น ขับไล่แมลง กระตุ้นและบำรุงกำลัง
สรรพคุณ 
การใช้ภายใน ช่วยลดไข้ บรรเทาอาการต่างๆ เช่น หลอดลมอักเสบ การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ กรวยไตอักเสบ โรคหนองใน
การนำไปใช้ในสุคนธบำบัด บรรเทาอาการขับเหงื่อมากเกินปกติ เหมาะกับผิวมัน และช่วยขับไล่แมลง
ข้อพึงระวัง 
ไม่เหมาะกับผู้ที่มีผิวแพ้ง่าย ผิวหนังอักเสบ และสตรีมีครรภ์  











บทที่ 3

วิธีดำเนินการ

1.วิธีวางแผนการทำงาน  

1.1การเตรียมการ
                         - ศึกษาสำรวจข้อมูล
                         - เริ่มเขียนเค้าโครง
                         - รวบรวมข้อมูล
                         - วิเคราะห์ข้อมูล
                         - สรุปอภิปรายข้อมูล
                        
2.ขั้นตอนและวิธีทำ
 
1. หั่นตะไคร้เป็นชิ้นเล็กๆ                
2. ต้มน้ำให้เดือดแล้วนำตะไคร้ใส่หม้อลงใปต้มจนได้น้ำสมุนไพรที่เข้มข้น               
3. นำน้ำตะไคร้ที่ต้มนั้นมากรองด้วยผ้าขาวบางที่เตรียมไว้
4. นำแผ่นพาราฟินแวกซ์หั่นเป็นท่อนๆใส่ในหม้อต้มตั้งไฟด้วยความร้อนปานกลางเคี้ยวไปจนละลายเป็น     ของเหลว  
5. ใส่น้ำตะไคร้ที่เตรียมไว้ในปริมาณที่พอเหมาะ 
6. นำใส้เทียนใส่ในแก้วบรรจุที่เตรียมไว้แล้วหยดเทียนลงไป 
7. นำเทียนมาตกแต่งให้สวยงาม
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
บทที่ 4
ผลการทดลอง

แบบสำรวจการปฏิบัติงานการทำโครงงานอาชีพ เทียนหอมตะไคร้

      ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของ เทียนหอมตะไคร้ จากผู้ทดลอง

วิธีการทดลองหาประสิทธิภาพของเทียนหอมตะไคร้
ดีมาก
ดี
พอใช้
ไม่แน่ใจ
1.     เป็นโครงงานน่าสนใจน่าสนใจ




2.     วางแผนงานอย่างมีระบบ




3.     เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่น




4.    ใช้ได้กับทุกชุมชนและทุกท้องถิ่น




5.     สุจริตเน้นคุณธรรมจริยธรรม




6.     สามารถพัฒนาฝีมือไปสู่ขั้นสูงได้




7.     กระบวนการจัดการมีระเบียบ




8.    ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์




9.     มีความร่วมมือในการทำงานของคนในกลุ่ม




10.  เป็นการสร้างที่ดีมีประโยชน์ให้กับคนรุ่นหลัง



















บทที่ 5
สรุปการอภิปรายผลการดำเนินงาน

อภิปรายผลการดำเนินงาน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทำให้เรารู้คุณค่าพืชสมุนไพรในท้องถิ่นของเรามากขึ้น  
2. สามารถนำเทียนหอมสมุนไพรที่ผลิตขึ้นมาใช้ประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ได้จริง   
3. สามารถใช้ประโยชน์จากพืชในท้องถิ่นได้อย่างคุ้มค่า 
4. เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์



ข้อเสนอแนะ
1. สามารถนำสมุนไพรพื้นบ้านชนิดอื่นมาเป็นส่วนผสมได้
2. การทำเทียนหอมเราควรนำสมุนไพรที่อบแห้งใส่ลงไปในเนื้อเทียน หอมด้วย อาจจะได้กลิ่นสมุนไพรมากขึ้น
3. ควรนำสมุนไพรหลายชนิดมาทำเทียนเปรียบเทียบกลิ่นที่ได้และรับความนิยม
4. เราสามารถเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงเพื่องานอดิเรกและสามารถนำประกอบอาชีพได้อีกด้วย

















อ้างอิง












































ภาคผนวก













ภาพกิจกรรม




ภาพกิจกรรมที่1 อุปกรณ์การทำ

ภาพกิจกรรมที่2 นำใบตะไคร้ไปตากแดด
ภาพกิจกรรมที่3 หั่นใบตะไคร้ตากแห้งเป็นชิ้นเล็กๆ
ภาพกิจกรรมที่4 นำไปตะไคร้ตากแห้งไปต้มในน้ำเดือด
 


ภาพกิจกรรมที่5 กรองน้ำตะไคร้ด้วยผ้าขาวบาง
ภาพกิจกรรมที่6 หั่นพาราฟินเป็นชิ้นเล็กๆ
 
ภาพกิจกรรมที่7 นำพาราฟินที่หั่นแล้วใส่หม้อขึ้นตั้งความร้อนปานกลาง เคี้ยวไปจนละลายเป็นของเหลว


ภาพกิจกรรมที่ 8
ภาพกิจกรรมที่ 9
ภาพกิจกรรมที่ 10 ใส่ S.A และ P.E ลงไปอย่างละประมาณ 1 ช้อนชา เสร็จแล้วใส่สีเทียนลงไปพอประมาณ แล้วตามด้วยน้ำตะไคร้หอม



ภาพกิจกรรมที่ 11 นำพาราฟินที่ละลายแล้วใส่แม่พิมพ์และใส่เทียนลงไป


ภาพกิจกรรมที่12 แกะเทียนออกจากแม่พิมพ์และตกแต่งให้สวยงาม